ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ


EPM, GMI, KMUTT 

LinkFacebookLinkYouTubeEmail

Instructor:      Dr. Apichart Kanarattanawong, Asst. 

Prof. Dr. Parameth Voraseyanont 

Office:             Classroom Building 5 (CB5), 8th floor

Email:       Parameth.vor@kmutt.ac.th  

Office hours:      To be announced or by appointment

Lecture Time:     Sat 18.00-21.00 PM

ปักหมุดข้อมูลสำคัญ/ข่าวประกาศ

คำอธิบายรายวิชา

วิชานี้มุ่งเน้นถึงวิธีที่ใช้ในการดำเนินงานวิจัย การกำหนดปัญหาในงานวิจัย ขั้นตอนการทำวิจัย การออกแบบการทดลอง การเขียนและนำเสนอผลงานวิจัย เทคนิคทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน การ ทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์การถดถอย การวิเคราะห์การ ถดถอยพหุคูณ เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง เทคนิคที่ใช้วิเคราะห์ส าหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น ทฤษฎีฐานราก และการวิเคราะห์เนื้อหา รวมทั้งการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ เช่น SPSS


Pre-requisite: None

Designed for: Post graduated

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

CLO 1: To gain a reasonable understanding of research methodology foundation

CLO 2: To identify information needed in response to problems and/or business decision making circumstance

CLO 3: To develop thinking, concepts, and skills necessary to conduct business/marketing research

CLO 4: To obtain a hand-on experience in conducting business/marketing research

ดูคะแนนเก็บ

นักศึกษาสามารถดูคะแนนเก็บของตัวเองได้ ที่นี่ 

รายละอียดบทเรียน

Class 1 (7/8) ความสำคัญของการวิจัยการตลาด และกระบวนการวิจัยการตลาด

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 2 (14/8) การระบุปัญหางานวิจัย และประเภทของงานวิจัย

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 3 (21/8) ทฤษฎีการตลาดที่สำคัญ การสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 4 (28/8) การวัดทัศนคติ (Attitude Measurement) และการพัฒนาเครื่องมือวิจัย (แบบสอบถาม)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 5 (4/9) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 6 (11/9) การวิจัยเชิงคุณภาพ – แนวคิดและระเบียบวิธีวิจัย

เอกสารการเรียน (PPT) | Note

เอกสารประกอบ: Content analysis exercise Instruction (Workshop material 1 | 2.1 | 2.2 | 2.3 | 3 | Coding example | 4)

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 7 (18/9) การวิจัยเชิงคุณภาพ – การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ผล

เอกสารการเรียน (PPT)

เอกสารประกอบ: Research paradigm | Participant consent form | Interview question (example) 

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 8 (25/9) นำเสนอโครงร่างงานวิจัยและแบบสอบถาม

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 9 (2/10) การเตรียมและลงรหัสข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล ตัวแปรและลักษณะต่างๆ ของตัวแปร

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 10 (9/10) การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 11 (16/10) การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Analysis)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 12 (23/10) การวิเคราะห์การถดถอยพหุ (Multiple Regression)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 13 (30/10) ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม (Group Difference) และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ (Correlation)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 14 (6/11) การขึ้นอยู่แก่กันของตัวแปรเชิงคุณภาพ (Chi-square Test) และ การจำแนกกลุ่ม (Cluster Analysis)

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 15 (13/11) การนำเสนอผลงานวิจัยและส่ง “บทความวิจัย”

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

Class 16 (17/11) สอบปลายภาค

เอกสารการเรียน (PPT)

กรณีศึกษา

เครื่องมือ

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

การสอบย่อย

ดูวีดีโอย้อนหลัง

งานกลุ่ม

ในการอ่านเพื่อทความเข้าใจ หรือเขียนงานวิจัย มีประเด็นส าคัญที่นักศึกษาควรศึกษาและจับประเด็นให้ได้ เพื่อให้สามารถเข้าใจงานวิจัยชิ้นที่อ่านได้อย่างลึกซึ้ง ประเด็นหรือหัวข้อดังกล่าวมีดังต่อไปนี้

a. บทนำ (Motivation/Rationale)

b. วัตถุประสงค์ในการวิจัยและค าถามวิจัย (Research Objectives/Research Questions)

c. การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review): ทฤษฎี แนวคิด งานวิจัยในอดีต (เฉพาะ) ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่กำลังดำเนินการ

d. กรอบแนวคิดในการวิจัยและสมมติฐาน (Conceptual Framework and Hypotheses)

e. ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)

• ประเภทงานวิจัย (Research Design)

• กลุ่มตัวอย่าง (Sample):

• เครื่องมือวิจัย (Research Instrument): การพัฒนาแบบสอบถาม มาตรวัดตัวแปร

• เครื่องมือสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ (Statistical Tools)

f. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

• ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (Sample Characteristics)

• การตรวจสอบความตรง (Validity) และความน่าเชื่อถือได้ (Reliability) ของมาตรวัดตัวแปร

• การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)

g. การอภิปรายผล (Discussion)

h. ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย (Contributions)

• ประโยชน์ด้านการบริหารจัดการ (Managerial Contribution)

• ประโยชน์ทางวิชาการ (Theoretical Contribution)

• ประโยชน์ภาครัฐ (Policy Makers)

i. ข้อจำกัดในการวิจัย (Limitations) และข้อเสนอแนะในการวิจัยในอนาคต (Future Research)

เอกสารประกอบการสอน

เอกสารอ่านประกอบอื่นๆ

การประเมินผลการเรียนรู้

AIs No.

CLO

Assessment items

Weighting

1

CLO 3, CLO 4

บทความวิจัยและงานกลุ่ม

40%

2

CLO 1, CLO 2, CLO 3

แบบฝึกหัดวิเคราะห์ข้อมูล และงานเดี่ยว

20%

3

CLO 1, CLO 2, CLO 3

Final examination

40%

การกระจายการเก็บข้อมูล

CLO

Assignments

Quiz

Mid-term examination

Final examination

CLO 1

-

10

-

10

CLO 2

-

5

-

10

CLO 3

20

5

-

20

CLO 4

20

-

-

-

TOTAL

40

20

-

40

การตัดเกรด

Assessment standards

Grading criteria

Performance

Excellent

A

Students show excellent ability to analyze and critically synthesize all aspects of the course as outlined in course objectives. They have extensive knowledge to fulfill the course objectives and develop their own solutions based on skills acquired from the course.

GOOD

B+/B

Students show evidence of knowing how to apply appropriate concepts and theories to handle related case examples.

MARGINAL

C+/C

Students know how to apply concepts and theories to address related issues as outlined in course objectives, but are marginally familiar with how to integrate skills and knowledge to handle complex cases or problems

DO NOT MEET EXPECTATION

D+/D/F

Students show lack of understanding in concepts and theories as outlined in course objectives, and are able to handle only simple problems, still with errors.

หลักสูตรอื่นที่เกี่ยวข้อง

XXX

Copyright (c) 2023, Edunet Company Limited